กฎพื้นฐานของการเขียนแผนที่ความคิด
Mind Map® Rules
การเขียนแผนที่ความคิด
(Mind Map®)ให้สวยงาม และถูกต้อง เรามาเรียนรู้กฎพื้นฐานกันก่อน ว่ามีอะไรบ้าง
ผู้เขียนขอให้ผู้สนใจทุกท่าน อ่านให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามที่ละขั้นตอน แต่ละข้อ
เพื่อความเข้าใจ หากมีข้อสงสัย ประการใด e-mail สอบถาม ได้โดยตรงที่น้องนิ่ม
e-mail : dmindmap@yahoo.com หรือ ภก.ประชาสรรณ์ แสนภักดี e-mail : glocalization@thailand.com
หรือโทร 0-1661-8579
Mind Map®
เป็นเครื่องหมายจดทะเบียนการค้าทั่วโลก และประเทศไทย โดย Tony
Buzan
How To Mind Map?
จะเขียน Mind Map ตามกฎอย่างไร อ่านเรื่องของหลักการ
Mind Map ประกอบ
ภาพประกอบเพื่อความเข้าใจมากขึ้น ในภาพเป็นการแสดงส่วนประกอบพื้นฐานของ Mind
Map เขียนโดยโปรแกรม MindMapper V3.5 (www.mindmapper.com)
1. Turn a large A4 (11.7" x 8.3") or preferably A3 (16.7" x
11.7"), white sheet of paper on it's side (landscape), or use a Mind
Map pad. นำกระดาษขนาด เอ 4 วางแนวนอน และต้องเป็นกระดาษที่ไม่มีเส้น เพื่อไม่ให้ความคิดถูกตีกรอบ
ตีเส้น ให้ความคิลื่นไหลได้โดยง่าย
2. Gather a selection of coloured pens, ranging from fine nib to medium and
highlighters.
ใช้ปากกาสีปากตัด หลายๆ ขนาด หลายๆ สี รวมทั้งปากกาเน้นคำ
3. Select the topic, problem or subject to be Mind Mapped.
เลือกหัวข้อหรือประเด็นปัญหาที่ต้องการเขียนแผนภูมิความคิด โดยหัวข้อดังกล่าวเราเรียกว่า
Subject of Mind Map
4. Gather any materials or research or additional information.
รวบรวมเอกสาร และข้อมูล วัตถุดิบก่อนการเขียน Mind Map ให้มากที่สุด
5. Start in the centre with an unframed image approximately 6cm high and
wide for an A4 and 10cm for an A3.
เริ่มต้นการเขียนจากตรงกลางหน้ากระดาษ โดยไม่ต้องใส่กรอบให้ข้อความหรือ ขีดขอบเขต
เพราะจะเป็นการกรอบความคิด ทำให้ไม่ลื่นไหล
6. Use dimension, expression and at least three colours in the central image
in order to attract attention and aid memory.
พยายามให้คำสำคัญ หรือการใช้สีเน้นเพื่อเป็นการดึงดูดความสนใจของผู้เข้าร่วมระดมความคิดเห็น
7. Make the branches closest to the centre thicker, attached to the image
and wavy (organic). Place the Basic Ordering Ideas
(BOIs) or the 'chapter heading' equivalents on the branches.
เลือกคำหรือ เลือกหัวข้อเรียงลำดับ เช่น คำว่า การศึกษา มาก่อนคำว่า ระดับการศึกษา
และมาก่อนคำว่า ประถาม มัธยม มหาวิทยาลัย เป็นการจัดลำดับความคิดเห็น หรือ ลำดับควาสำคัญของคำ
8. Branch thinner lines off the end of the appropriate BOIs
to hold supporting data (most important closest).
การแตกแขนงย่อยๆ ลงไป ตามลำดับสำหรับเนื้อหาที่สัมพันธ์กัน
9. Use images wherever possible.
ใช้รูปภาพให้บ่อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ แทนคำหรือข้อความ
10. The image or word should always sit on a line of the same length.
คำหรือข้อความจะต้องอยู่บนเส้นเสมอ และเส้นจะมีความยาวเท่ากับคำ หรือรูปภาพ
11. Use colours as your own special code to show people, topics, themes or
dates and to make the Mind Map more beautiful.
ใช้สีตามจินตนาการของแต่ละคน เพื่อให้มีความเป็นเอกลักษณ์
12. Capture all ideas (your own or others), then edit, re-organise, make
more beautiful, elaborate or clarify as a second stage of thinking.
เก็บข้อความให้มาก จัดหมวดหมู่ เรียบเรียง ตกแต่งให้มีความสวยงาม
สำหรับผู้ที่ต้องการคู่มือการใช้งานโปรแกรม MindManager 2002 เป็นภาษาไทย ติดต่อผู้เขียนได้
ทางศูนย์ฝึกอบรมภูมิปัญญาสู่สากล ได้จัดพิมพ์ไว้บริการท่านผู้สนใจ เขียนและแปล
โดย ผู้จัดการศูนย์ฝึกอบรมภูมิปัญญาสู่สากล เภสัชกรประชาสรรณ์ แสนภักดี
หน่วยงานที่สนใจ ต้องการอบรม การเขียนแผนภูมิความคิดด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ติดต่อ น้องนิ่ม e-mail : dmindmap@yahoo.com หรือ โทรศัพท์สอบถามรายละเอียด
ได้ที่หมายเลข 0-1661-8579 (สายตรง เภสัชกรประชาสรรณ์ แสนภักดี)
Glocalization Training Center
e-mail : glocalization@thailand.com
Fax : 0-4332-4071
Mobile : 0-1661-8579
copy right © 2003-2004